Beacon Chain คืออะไร
Beacon Chain คือชื่อของบล็อกเชนแบบ Proof-of-Stake ที่ถูกเปิดใช้งานครั้งแรกในปี 2020 เพื่อตรวจสอบว่า Proof-of-Stake ทำงานได้อย่างถูกต้องและยั่งยืน ก่อนที่จะเปิดใช้งานบน Ethereum Mainnet ที่เป็น Proof-of-Work ซึ่ง Beacon Chain เป็นส่วนหนึ่งของ Ethereum 2.0 ที่เป็นการอัพเกรดรุ่นถัดไปของเครือข่าย Ethereum โดย Beacon Chain มีบทบาทสำคัญในการสร้างและบริหารเครือข่าย ETH 2.0 โดยเฉพาะในการเปิดใช้งาน Proof of Stake (PoS) Consensus และการอัพเกรดจาก Proof of Work (PoW) ของ Ethereum 1.0 ไปเป็น ETH 2.0 Proof-of-Stake
คุณสมบัติและบทบาทสำคัญของ Beacon Chain
- Proof of Stake Validator Chain โดย Beacon Chain เป็น Proof of Stake Blockchain ซึ่งแตกต่างจาก Ethereum 1.0 ที่ใช้ Proof of Work ในการรักษาความปลอดภัยและสร้างความน่าเชื่อถือในการทำธุรกรรม โดย Validator สามารถเคลียร์การทำธุรกรรมและเพิ่มบล็อกใหม่ และรับรางวัลตอบแทนจากการทำงานในรูปแบบคริปโตเคอร์เรนซี
- การกำหนดตัว Validator โดย Beacon Chain เป็นที่สำหรับการลงทะเบียนและจัดการกับ Validator ซึ่ง Validator ที่รับผิดชอบในการสร้างบล็อกและยืนยันการทำธุรกรรมใน ETH 2.0 จะต้องทำการ Stake เหรียญ Ethereum เพื่อให้ความเชื่อถือและเป็นหลักประกันในการทำงานของตัวเองๆ
- Beacon Chain จะทำหน้าที่จัดการกับ Validator Set ซึ่งเป็นกลุ่มของ Validator ที่ทำงานร่วมกันในการสร้างบล็อก โดย Beacon Chain จะคอยควบคุมขนาดและโครงสร้างของ Validator Set เพื่อให้เครือข่ายสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ความถูกต้องเเละเเหล่งที่มา
- รายได้เข้าศิลปิน/ผู้สร้างโดยตรง
- ลิขสิทธิ์เเละการขายในตลาดรอง
- การเข้าถึงเเละการกระจายความเป็นเจ้าของ
- Global Market Place
- ความถูกต้องเเละเเหล่งที่มา : NFT ใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนเพื่อสร้างความเป็นเจ้าของที่สามารถพิสูจน์ได้เเละบันทึกประวัติการทำธุรกรรมของสินทรัพย์ดิจิทัล จึงทำให้สามารถมั่นใจได้ว่า NFT นั้นมีความเฉพาะตัวเเล้วไม่ สามารถทำซ้ำ หรือปลอมเเปลงได้ ทำให้ทั้งทางผู้ สร้างเเละผู้ซื้อมี ความมั่นในความถูกต้องเเละเเหล่งที่มาของ NFT
- รายได้เข้าศิลปิน/ผู้สร้างโดยตรง : NFT ทำให้ศิลปิน/ผู้สร้าง สามารถขายงานได้โดยตรง โดยไม่จำเป็นต้องมีตัวกลาง ทำให้ได้รายได้ที่สูงขึ้น เเละสามารถเชื่อมต่อการผู้ชมได้โดยตรง
- ลิขสิทธิ์เเละการขายในตลาดรอง : NFT ถูก Program ขึ้นด้วย Smart Contract ที่กระจายค่าลิขสิทธิ์ให้กับผู้สร้างโดยอัตโนมัติเเม้ว่า NFT นั้นจะถูกขายในตลาดรองอีกครั้งก็ตาม ทำให้เป็นโอกาสสร้างรายได้ให้กับศิลปินอย่างต่อเนื่องเเม้จะเลยช่วงการขายครั้งเเรกไปเเล้ว
- การเข้าถึงเเละการกระจายความเป็นเจ้าของ : NFT นั้นสามารถกระจาย ความเป็นเจ้าของได้ ทำให้หลายๆคน สามารถเข้าถึงการเป็นเจ้าของ ผลงานชิ้น เดียวกันได้ เเนวคิดในการปันส่วนความ เป็นเจ้า ของนี้เปิดโอกาสให้เกิดความเป็น ไปได้ในการลงทุนเเบบใหม่ การเข้าถึง Exclusive Content เเละการมีส่วนร่วมใน การเป็นเจ้าของ สินทรัพย์ชนิดเดียวกัน
- Global Market Place: NFT สามารถซื้อเเละขายในตลาดออนไลน์ได้ทั่วโลกทำให้ศิลปินเเละนักสะสมสามารถเข้า ถึงผู้คนจำนวนมากได้ ทำให้การเข้าถึง ตลาดระดับโลกเป็นเรื่องที่ง่ายเเละสะดวก สบาย การค้นหาเเละการเเลกเปลี่ยนถูก พัฒนาขึ้นไปอีกระดับ